วัคซีน 

วัคซีน ความรู้เรื่องวัคซีน คือ อะไร? ต้นกำเนิดมากจากที่ไหน

วัคซีน เกิดจากอะไร ทำมาเพื่ออะไรไปหาคำตอบกัน!

วัคซีน ก่อนที่จะมาเป็นวัคซีนจริงๆแล้วเซรุ่มคืออะไรและวัคซีน มาที่มาที่ไปมาจากไหนต่างจากวัคซีน ไฟเซอร์ ไหมยากขนาดไหน กว่าจะมาเป็นวัคซีน ก่อนที่จะพูดถึงวัคซีน เราต้องกล่าว ถึงอีกเรื่องหนึ่ง ก่อนที่เกี่ยวคล้อง กับวัคซีน ภูมิคุ้มกัน ภูมิคุ้มกันคือสิ่ง ที่อยู่ในร่างกาย ของเรา ช่วยคอยป้องกัน เราจะโรคภัยต่างและไม่ ให้เชื้อโรคมาทำอันตรายเราได้ และ ตัวภูมิคุ้มกันนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ด้วยกัน ประเภทแรกคือ ภูมิคุ้มกันที่เรามีอยู่แล้วตั้งแต่กำเนิด สอง ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายเราสร้างขึ้นภายหลัง ซึ่งในวันนี้เราจะมาพูดคุนกันถึงประเภทที่สองกันเพราะ

เกี่ยวเนื่องกับเรื่อง ของวัคซีน และ ประเภทที่ 2 ที่ได้บอกมานั้น ก็จะแบ่ง เป็น 2 ประเภทย่อย ประเภทที่ 1 คือร่างกายสร้างขึ้นเอง ส่วนประเภทที่ 2 คือการที่เรายัด ภูมิคุ้มกันใส่ร่างกาย ของเรานั้นเอง ความแตกต่างระหว่าง อย่างแรกกับ อย่างที่สองคือ อย่างแรกจะสร้างยากกว่า เพราะร่างกาย เราต้องใช้เวลาสั่งสมเพื่อสร้างขึ้น ส่วนประเภทที่สอง แค่ยัดเข้าร่างกายก็ใช้ได้เลย แต่ข้อดีของประเภทแรก คือ มันจะอยู่กับเรายาวนานกว่า แต่แข็งแรงกว่าภูมิคุ้มกัน ประเภทที่สอง ในวันนี้จะพูดถึงเรื่องวัคซีน เราก็จะมาพูดถึงภูมิคุ้มกันประเภทนี้กันคือ

ประเภทที่ร่างกาย สร้างขึ้นเองในภายหลัง คือการที่เราใส่ อะไรบ้างอย่างเข้าไป ในร่างกายแล้วให้ร่างกายรู้สึก ว่าต้องสร้างอะไรบ้าง อย่างขึ้นมาต่อสู้ และ ป้องกันมัน หลังจากที่ร่ากาย โดนกระตุ้นก็จะสร้างภูมิคุ้ม กันขึ้นมา ซึ่งอะไรบ้างอย่างที่พูดมานั้น ก็คือ วัคซีน นั้นเองซึ่งวัคซีน นั้นไม่จำเป็นต้องฉีดเข้าไปในร่างกาย เพียงอย่างเดียว มีทั้งวิธี ฉีก กิน หรือ สูดดมเข้าไปทางจมูก ก็ได้เช่นกัน บางคนบอกว่าวัคซีน คือ เชื้อโรคถามว่า ถูกก็ถูกบางส่วนแต่ไม่หมด จริงๆก็คือเชื้อโรคนั้นแหละ แต่เราทำให้เชื้อโรคตัวนั้นอ่อนแอ และ มีปรินาณ

อีกนานไหมที่รัฐบาลจะทำการฉีดวัดซีนให้ประชาชนครบทุกคน

ที่น้อยมากๆ หรือ อาจจะเป็นส่วนประกอบ ของเชื้อโรค หรือพิษที่เชื้อ โรคทิ้งไว้ เพราะ องค์ประกอบการทำวัคซีน แต่ละตัวนั้น ไม่เหมือนกัน ยกตัวอย่างของ วัคซีน covid ไม่ว่าจะเป็น วัคซีน moderna mrna สาร mrna หรือ วัคซีน sinovac คือ สารระดับพันธ์ุกรรม ซึ่งการใส่สารระดับพันธุ์ เข้าไปในเซล์ของเราเซล์ของเราก็จะผลิต โปรตีนขึ้นมาตัวหนึ่ง ซึ่งโปรตีนที่เกิดขึ้น นั้นเป็นโปรตีนที่ใกล้เคียง กับโปรตีน ที่อยู่บนผิวของ ไวรัส ดังนั้นร่างกาย ก็จะคุ้นเคย และ คิดว่าโปรตีนตัว นี้น่าจะเป็นโปรตีน ที่เป็นโปรตีน

 วัคซีน คือ างออกและทางรอดของคนทุกคน

วัคซีน

ของไวรัส ร่างกายจึงสร้าง ภูมิคุ้มกันขึ้นมา เพื่อต่อสู้กับ โปรตีนจากวัคซีน ที่เราฉีดเข้าไป และ ในอนาคตถ้าเราได้รับเชื้อ เข้าไปจริงๆร่างกาย ก็จะคุ้นเคยแล้วว่า ต้องสร้างภูมิกันมากำจัด เปรียบเหมือน ร่างกายเราได้ซ้อมรับมือ กับเชื้อโรคมาแล้ว อย่างไรก็ตามการ ฉีดวัคซีนก็ไม่ได้ป้องกัน เชื้อโรคได้อย่าง 100 เปอร์เซ็น เพียงแค่ลด โอกาสการติดเชืิ้อ และ ทำให้เราต่อสู้กับโรค ได้มากขึ้นก็เท่านั้นเอง ส่วนผลข้างเคียงนั้นขึ้นอยู่ กับร่างกายของแต่ละคน ว่าจะตอบสนองกับวัคซีนอย่างไร จุดเกำเนิดของวัคซีน นั้นมีที่มาจากประเทศจีน

โดยเริ่มแรก มันเริ่มจากโรคชนิดหนึ่ง ที่่เรารู้จักกันในชื่อ ฝีดาษ ลักษณะ ของโรคนี้ผุ้ป่วยจะมีตุ่ม ขึ้นตามร่างกาย และ ตุ่มก็จะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ จนแตก และ ตกสะเก็ด และ เป็นแผล ซึ่งคนที่เป็นโรค นี้มีโอกาสตายสูงมาก และ โรคนี้ยังมีอัตราการระบาด ที่สูงมากเช่นเดียวกัน โดยทางจีนเริ่ม รู้จักการรักษา โรคนี้ เมื่อช่วงประมาณ ปี ค.ศ 1000 ซึ่งวิธีการก็คล้ายๆกันกับ การรักษาด้วย วัคซีนนี้แหละ คือ การนำเชื้อเข้าสู่ร่างกายของคนที่ไม่ได้เป็นอะไร โดยการขูดเอาสะเก็ดแผล ของคนที่เป็นโรค ฝีดาษ แล้วนำมาบดๆ เป็นผง แล้วก็ทำการ

การได้รับวัคซีน คือ สิทธิ์ที่ประชาชนทุกคนควรได้รับ 

สูดดมเข้าทางจมูก อีกวิธีคือเอาไม่แหละไปจิ้ม ตัวคนที่เป็นฝีดาษ แล้วก็มาจิ้มคนที่ยัง ไม่ได้เป็น ซึ่งแน่นอนคนที่โดนจิ้มต้องติดเชื้อฝีดาษ แต่อาการจะไม่หนัก เท่าคนที่ติดเอง ตามธรรมชาติ จากโอกาสตาย 50 เปอร์เซ็นก็จะแค่เพียง เป็นไข้เป็นผื่นนิดหน่อย เท่านั้นเอง ซึ่งการที่เอาไม้ไปจิ้ม ระหว่างคนเป็นโรค และ ไม่เป็นโรค ก็คือที่มาของคำว่า ปลุกฝี นั้นเอง ในช่วงที่โรคระบาด หนักมากในยูโรป จนกระทั่งในปี ค.ศ 1796 มีคุหมอท่าน หนึ่ง ชื่อ edward jenner

ได้สังเกตุว่า ผู้หญิงรีดนม วัวคนหนึ่งเคยเป็น โรคฝีดาษวัว ทำไมถึงไม่ ติดโรคฝีดาษ จึงเกิดความ สังสัย หมอเลยไป สะกิดเอาแผล ของผู้หญิง รีดนมวัวคนนั้น แล้ว ก็มองหาเหยื่อผู้โชคร้าย ที่จะเอามา เป็นหนู ทดลอง เขาได้เหลือกไปเห็นลูก ของคนสวนเขาๆ เลยแอบเอาเชื้อโรค จิ้มใส่แขนของน้อง และ ก็ลองให้น้องเจอ กับเชื้อโรคต่างๆ ปรากฎว่า น้องก็ไม่ป่วย เป็นฝีดาษ สักที พอรู้ว่าน้องไม่เป็น อะไรก็เริ่มจิ้ม ที่ตัวน้องแล้ว นำไปจิ้มคนอื่นอีกที ผลคือคนที่โดย การจิ้มต่อจากน้อง กับไม่เป็นอะไรเหมือน ดังนั้นหมอ จึงรู้สึกว่าสิ้งนี้น่าจะป้องกันโรคฝีดาษ ได้แน่ๆแล้วหมอ ก็ทำการเขียนบทความ และ ตีพิมพ์ออกมา ซึ่งหมอได้ เรียกการรักษา นี้ว่า variolae vaccinae และคำๆนี้ก็ได้ มีวิวัฒนาการมา เป็นคำว่า วัคซีน หรือ เซรุ่ม นั้นเอง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Scroll to Top